ด้านวิจัย
โครงการวิจัยในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ
มหาวิทยาลัยมหิดล
ได้มีการดำเนินการศึกษาวิจัยด้านต่างๆในพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญมาอย่างต่อเนื่อง
และสร้างกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อคนในพื้นที่อย่างมากมาย ได้แก่
ปี พ.ศ. 2555
1.) การวิจัยแบบสหสาขาวิทยา
เพื่อการถ่ายทอดความรู้ด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรมจากพืชท้องถิ่น
พื้นที่ศึกษาจังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดกาญจนบุรี โดย ผศ.เกษม กุลประดิษฐ์
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ โครงการย่อย (ระยะเวลา 5 ปี; เริ่มปี 2555 - 2559)
ดังนี้
1.1
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของสัตว์ขาปล้อง
ที่มีความสำคัญทางการแพทย์ และสัตว์ขาปล้องขนาดเล็กในดิน
ในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช จังหวัดอำนาจเจริญ
1.2 โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
และการตรวจหาโรคติดเชื้อก่อโรคในสัตว์ป่า บริเวณพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช
จังหวัดอำนาจเจริญ
1.3
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการ
และสาระสำคัญของแหล่งอาหารจากพืชและสัตว์ บริเวณพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช
จังหวัดอำนาจเจริญ
1.4
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของชนิดพันธุ์
การแพร่กระจายกับการประยุกต์ใช้เชิงเศรษฐกิจของไม้ที่ให้น้ำมันหอมระเหย หอยบก
หอยน้ำจืด และเห็ดสมุนไพร บริเวณพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช จังหวัดอำนาจเจริญ
1.5
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ด้านอนุกรมวิธาน ความหลากหลาย
และอนุรักษ์พันธุกรรมพืชที่พบในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช จังหวัดอำนาจเจริญ
1.6
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากการปรับตัวของพืชในบริเวณพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช
จังหวัดอำนาจเจริญ
1.7
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรที่ใช้ในการผลิตยาสมุนไพรไทย
พื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช จังหวัดอำนาจเจริญ
1.8
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้านการสำรวจ รวบรวม และจัดทำข้อมูล
เพื่อการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากป่าไม้ในพื้นที่ปกปักพันธุกรรมพืช
จังหวัดอำนาจเจริญ
ปี พ.ศ. 2556
1.) การวิจัยแบบสหสาขาวิทยา
เพื่อการถ่ายทอดความรู้ด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรมจากพืชท้องถิ่นพื้นที่ศึกษา
จังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดกาญจนบุรี โดย ผศ.เกษม กุลประดิษฐ์
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ โครงการย่อย ดังนี้
1.1
โครงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพสู่ชุ่มชนอย่างบูรณาการกรณีศึกษา
จังหวัดอำนาจเจริญ
ปี พ.ศ. 2557
1.) การวิจัยแบบสหสาขาวิทยา
เพื่อการถ่ายทอดความรู้ด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรมจากพืชท้องถิ่น
พื้นที่ศึกษาจังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดกาญจนบุรี โดย ผศ.เกษม กุลประดิษฐ์
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ โครงการย่อย ดังนี้
1.1
โครงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพสู่ชุ่มชนอย่างบูรณาการ
กรณีศึกษาจังหวัดอำนาจเจริญ
ปี พ.ศ. 2558
1.) การวิจัยแบบสหสาขาวิทยา
เพื่อการถ่ายทอดความรู้ด้านการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรพันธุกรรมจากพืชท้องถิ่น
พื้นที่ศึกษาจังหวัดอำนาจเจริญ และจังหวัดกาญจนบุรี โดย ผศ.เกษม กุลประดิษฐ์
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ โครงการย่อย ดังนี้
1.1 โครงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลความหลากหลายทางชีวภาพสู่ชุ่มชนอย่างบูรณาการ
กรณีศึกษาจังหวัดอำนาจเจริญ
2.) การถ่ายทอดความรู้อย่างครบวงจร ในการศึกษาและอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ในพื้นที่ศึกษาจังหวัดอำนาจเจริญ โดย ผศ.ดร.ทยา
เจนจิตติกุล คณะวิทยาศาสตร์ เป็นผู้อำนวยการแผนงาน ประกอบด้วย 2 โครงการย่อย ดังนี้
2.1 การถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านอนุกรมวิธาน เซลล์พันธุศาสตร์ และการขยายพันธุ์พืช
สำหรับการใช้อย่างยั่งยืนในพื้นที่ศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ
2.2 การศึกษาเอกลักษณ์ระดับโมเลกุลของพืชสมุนไพรพื้นที่ศึกษา จังหวัดอำนาจเจริญ
ปี พ.ศ. 2559
1.) การจัดทำฐานข้อมูลคุณค่าทางโภชนาการ สารออกฤทธิ์ชีวภาพ และสมบัติเชิงสุขภาพ ของเห็ดกินได้
ในจังหวัดอำนาจเจริญ โดย ดร.อุทัยวรรณ สุทธิศันสนีย์ สถาบันโภชนาการ
เป็นหัวหน้าโครงการ
ที่มา : กองบริหารงานวิจัย สำนักงานธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล